139809 จำนวนผู้เข้าชม |
มะเร็งปากมดลูก
รู้หรือไม่ว่า แม้มะเร็งเต้านมจะเป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดในผู้หญิง แต่มะเร็งที่พบมากเป็นอันดับ 2 ในผู้หญิง อย่าง “มะเร็งปากมดลูก” ก็เป็นอีกหนึ่งโรคร้ายที่ต้องเฝ้าระวังและหมั่นตรวจคัดกรอง เช่นกัน โดยเฉพาะผู้หญิงที่อยู่ในช่วงอายุ 30-50 ปี ซึ่งจากสถิติของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พบว่า ตัวเลขผู้เสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูก มีมากถึง 4,500 รายต่อปี หรือเฉลี่ยวันละ 12 คน และยังพบผู้ป่วยรายใหม่มากถึง 8,000 คนต่อปี
ผู้หญิงอายุก่อน 30 ปีก็เสี่ยง! มะเร็งปากมดลูก | Cervical Cancer สาเหตุของการเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของผู้หญิงไทย โดยพบได้ตั้งแต่ผู้หญิงอายุก่อน 30 ปี ส่วนใหญ่มักพบในช่วงอายุระหว่าง 35 – 50 ปี
สัญญาณเตือน อาการมะเร็งปากมดลูก
มะเร็งปากมดลูก มักไม่แสดงอาการในระยะแรก หมั่นสังเกตอาการของตนเอง
สาเหตุของการเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของผู้หญิงไทย โดยพบได้ตั้งแต่ผู้หญิงอายุก่อน 30 ปี ส่วนใหญ่มักพบในช่วงอายุระหว่าง 35 – 50 ปี
อาการโรคมะเร็งปากมดลูก
ในระยะแรกมักไม่แสดงอาการ
เมื่อมะเร็งปากมดลูกลุกลามแล้ว อาจจะมีเลือดออกผิดปกติ เช่น เลือดออกหลังจากมีเพศสัมพันธ์ มีเลือดออกหลังจากหมดประจำเดือนแล้ว
มีอาการตกขาวซึ่งอาจจะมีเลือดปน
ปัสสาวะหรืออุจจาระปนเลือด ซึ่งเกิดจากมะเร็งปากมดลูกลุกลามไปยังอวัยวะข้างเคียง
เช็ค 8 สัญญาณเตือนของมะเร็งปากมดลูก
มะเร็งปากมดลูก โรคยอดฮิตสำหรับผู้หญิงที่น่ากลัวไม่แพ้มะเร็งเต้านมเลย เพราะแม้จะไม่เคยมีเพศสัมพันธ์ก็สามารถเป็นได้ และใน 1 ปีมีผู้ป่วยจากมะเร็งปากมดลูกโดยเฉลี่ยถึง 6,000 รายเลยทีเดียว
มะเร็งปากมดลูกนั้นเกิดจาก เซลล์บริเวณปากมดลูกเกิดความผิดปกติ สามารถเกิดขึ้นได้จากการระคายเคืองของสารเคมี ไปจนถึงสาเหตุที่พบมากที่สุดคือ การติอเชื้อไวรัส HPV (Human Papilloma Virus)
8 สัญญาณเตือนว่าเราอาจะเป็นมะเร็งปากมดลูก
1. เลือดออกจากช่องคลอดโดยไม่ทราบสาเหตุ อาจจะเป็นตอนที่มีเพศสัมพันธ์ หรือประจำเดือนที่มาผิดปกติก็ได้เช่นกัน
2. ตกขาวที่มีเลือดปน โดยปกติแล้วการที่ผู้หญิงเรามีตกขาวบ้างในช่วงก่อนหรือหลังจะมีประจำเดือนนั้นไม่ใช่เรื่องผิดปกติ แต่หากมีมากเกินไป และมีเลือดปนอาจเป็นสัญญาณเตือนอย่างหนึ่งก็ได้
3. เจ็บขณะมีเพศสัมพันธ์ หากมั่นใจว่าเราเตรียมตัวพร้อมสำหรับการเพศสัมพันธ์ ช่องคลอดไม่ได้แห้งจนรู้สึกเจ็บเสียด แต่ขณะมีเพศสัมพันธ์นั้นยังเจ็บอยู่ก็ไม่ควรปล่อยนิ่งดูดาย
4. มีสารคัดหลั่งออกมาจากช่องคลอดจำนวนมาก และอาจมีเลือดปน
5. ปวดท้องน้อยบ่อยเกินปกติ แม้จะไม่ใช่ช่วงใกล้มีประจำเดือนก็ตาม หรือช่วงที่ใกล้มีประจำเดือนแต่อาการปวดท้องประจำกเดือนมีมากกว่าที่เคย
6. เบื่ออาหาร ไม่รู้สึกอยากอาหาร จนน้ำหนัดลดลงอย่างผิดสังเกต
7. อ่อนเพลีย เหนื่อยง่ายกว่าปกติ รู้สึกไม่มีแรงอยู่ตลอดเวลา
8. ปัสสาวะบ่อย มีอาการปวดท้องน้อย ท้องน้อยบวม บางครั้งรู้สึกปวดปัสสาวะแต่ปัสสาวะไม่ออก
อาการเหล่านี้อาจจะเป็นสัญญาณเตือนของมะเร็งปากมดลูก หรือโรคอื่นๆ ที่เกี่ยวกับอวัยวะสืบพันธ์ของเราได้ แนะนำให้ควรพบแพทย์ เพื่อวินิจฉัยอาการต่อไป
มะเร็งมดลูก...อีกหนึ่งมะเร็งของผู้หญิงที่ควรรู้จัก
เมื่อพูดถึงมะเร็งทางนรีเวชที่เกี่ยวข้องกับอวัยวะสืบพันธุ์ ผู้หญิงหลายคนมักคุ้นเคยกันดีกับมะเร็งปากมดลูก แต่ทราบหรือไม่ว่ายังมีมะเร็งอีกชนิดหนึ่งซึ่งพบได้มากขึ้นเรื่อยๆ นั่นก็คือ “มะเร็งมดลูก”
ในปัจจุบันมะเร็งทางนรีเวชที่พบได้มากที่สุด 4 อันดับแรกเรียงตามลำดับ ได้แก่ มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก มะเร็งมดลูก และมะเร็งรังไข่ แต่มีข้อสังเกตว่าแม้มะเร็งเต้านมจะพบได้มากที่สุด แต่อัตราการเสียชีวิตจากโรคนี้กลับต่ำกว่ามะเร็งปากมดลูก ทั้งๆ ที่มะเร็งปากมดลูกนั้นสามารถป้องกันได้
ทั้งนี้อาจเป็นเพราะการพบสูตินรีแพทย์เพื่อตรวจภายในยังเป็นเรื่องที่ผู้หญิงส่วนใหญ่ยังอายและไม่คุ้นเคย และเมื่อเปรียบเทียบมะเร็งปากมดลูกกับมะเร็งมดลูก พบว่ามะเร็งมดลูกมีอุบัติการณ์ที่พบได้มากขึ้นเรื่อยๆ ทุกปี ในขณะที่มะเร็งปากมดลูกมีแนวโน้มลดลง โดยเฉพาะประเทศอเมริกา อังกฤษ และทวีปยุโรป ซึ่งอาจเป็นเพราะประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันโรคและเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมากขึ้น
สำหรับมะเร็งปากมดลูกนั้น คนส่วนใหญ่อาจเข้าใจว่าคือที่เดียวกับปากมดลูก แต่แท้จริงแล้วเป็นคนละที่กัน บางครั้งจึงเกิดความเข้าใจว่าการตรวจภายในหรือการตรวจมะเร็งปากมดลูกเป็นการตรวจมะเร็งในระบบอวัยวะสืบพันธุ์ที่ครบถ้วน ทั้งๆ ที่การตรวจมะเร็งปากมดลูกเป็นเพียงแค่การตรวจส่วนเดียวเท่านั้น ไม่ได้รวมถึงการตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วย
การเกิดมะเร็งปากมดลูกยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดว่าเกิดจากอะไร แต่พบว่าอาจมีปัจจัยเสี่ยงบางอย่างที่ทำให้เกิดโรคนี้ได้ เนื่องจากมะเร็งชนิดนี้เกี่ยวข้องกับฮอร์โมนในร่างกายผู้หญิง ดังนั้นผู้หญิงที่มีบุตรน้อยหรือไม่มีบุตร มีประจำเดือนเป็นเวลานานแม้จะถึงวัยที่ควรหมดประจำเดือนแล้ว มีภาวะฮอร์โมนผันผวน เช่น ตกไข่บ้างไม่ตกไข่บ้าง ประจำเดือนมาไม่สม่ำเสมอ รวมถึงผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน อ้วน มีน้ำหนักตัวมากเกินไป ก็อาจมีความเสี่ยงของการเป็นมะเร็งปากมดลูกได้มากขึ้น
มะเร็งปากมดลูกมีกี่ระยะ?
ระยะของโรคมะเร็งปากมดลูก แบ่งออกเป็น ระยะก่อนมะเร็ง และระยะลุกลาม
ระยะก่อนมะเร็ง หรือระยะลุกลาม ระยะนี้เซลล์มะเร็งยังอยู่ภายใจชั้นเยื่อบุผิวปากมดลูก ไม่ลุกลามเข้าไปในเนื้อปากมดลูก ผู้ป่วยจะไม่มีอาการผิดปกติเลย แต่ตรวจพบได้ด้วยการตรวจคัดกรองทางเซลล์วิทยา หรือ ตรวจแพปสเมียร์ (Pep Smear)
ระยะลุกลาม แบ่งออกเป็น 4 ระยะย่อย คือระยะที่ 1 มะเร็งลุกลามอยู่ภายในปากมดลูก
ระยะที่ 2 มะเร็งลุกลามไปที่เนื้อเยื่อข้างปากมดลูก และ (หรือ) ผนังช่องคลอดส่วนบน
ระยะที่ 3 มะเร็งลุกลามไปที่ด้านข้างของเชิงกราน และ (หรือ) ผนังช่องคลอดส่วนล่าง หรือกดท่อไตจนเกิดภาวะไตบวมน้ำ
ระยะที่ 4 มะเร็งลุกลามไปที่กระเพาะปัสสาวะ ไส้ตรง หรืออวัยวะอื่นๆ เช่น ปอด กระดูก และต่อมน้ำเหลืองนอกเชิงกราน เป็นต้น
มะเร็งปากมดลูกจะแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะช่วงอายุ 35-45 ปี จะพบได้ในคนที่มีปัจจัยเสี่ยงดังกล่าวข้างต้น อีกระยะคือ ช่วงอายุ 45 ปีขึ้นไป ซึ่งเป็นช่วงที่ผู้หญิงมักมีปัญหาประจำเดือนมาไม่ปกติ เช่น มาบ้างไม่มาบ้าง หรือมาเกินกว่าปกติที่เคยมี จากที่เคยมี 3-7 วันกลายเป็นมีๆ หยุดๆ หรือมีเกิน 7 วัน ทำให้อาจเข้าใจว่าเป็นอาการของการเข้าสู่วัยทองหรือเป็นเพียงสัญญาณของการหมดประจำเดือน
ทั้งนี้อาการของมะเร็งปากมดลูกหรือมะเร็งโพรงมดลูกมีเพียงอย่างเดียวเท่านั้น คือ ประจำเดือนผิดปกติ แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าผู้หญิงทุกคนที่มีประจำเดือนผิดปกติจะต้องเป็นมะเร็งปากมดลูก ดังนั้นสิ่งสำคัญที่สุดที่ไม่ควรละเลยคือ หากมีประจำเดือนผิดปกติควรรีบพบสูตินรีแพทย์เพื่อทำการตรวจวินิจฉัยและหาสาเหตุที่แน่ชัดต่อไป
อัตราผู้ป่วยที่เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกยังครองแชมป์อันดับหนึ่งของหญิงไทย เสียชีวิตสูงถึงวันละ 14 คน ปัจจุบันมะเร็งปากมดลูกสามารถรักษาให้หายได้ ถ้ารักษาตั้งแต่ระยะแรก ๆ และมีวัคซีนป้องกัน
อย่างไรก็ดี ถึงแม้ในปัจจุบันจะยังไม่มีวิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก แต่ด้วยเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้ามากขึ้น หากผู้หญิงที่มีความผิดปกติของประจำเดือนมาพบสูตินรีแพทย์ แพทย์จะทำการอัลตราซาวนด์เพื่อตรวจหาความผิดปกติ หรืออาจใช้วิธีการส่องกล้องเข้าทางปากมดลูกเพื่อตรวจโพรงมดลูกว่ามีเนื้องอกหรือมะเร็งหรือไม่ หากสงสัยว่าอาจมีความผิดปกติก็จะใช้หลอดเล็กๆ เก็บเนื้อตัวอย่างในโพรงมดลูกไปตรวจ เพื่อจะได้วินิจฉัยให้ถูกต้อง
ในส่วนของการรักษามะเร็งปากมดลูก หากตรวจพบในระยะเริ่มแรกสามารถผ่าตัดได้ หรือจะใช้วิธีผ่าตัดผ่านกล้อง ซึ่งช่วยให้ผู้ป่วยไม่ต้องผ่าตัดใหญ่ แผลเล็ก สามารถฟื้นตัวและกลับไปใช้ชีวิตตามปกติได้เร็วขึ้น โดยการผ่าตัดรักษามะเร็งปากมดลูกในระยะแรกนั้นง่ายกว่าการผ่าตัดมะเร็งปากมดลูก และผู้ป่วยมีโอกาสหายได้ถึง 90%
เชื้อ HPV คือ เชื้อที่พบได้บ่อยในโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โดยสามารถติดต่อได้หลายช่องทางไม่ว่าจะเป็นทางปาก, ช่องคลอด, ทวารหนัก หรือการสัมผัสกับเชื้อโดยตรง นอกจากนี้เชื้อ HPV ยังเป็นสาเหตุหลักของมะเร็งหลายประเภท เช่น มะเร็งทวารหนัก มะเร็งช่องคลอด รวมถึงมะเร็งปากมดลูกที่เป็นโรคหลัก ๆ ที่เกิดขึ้นจากเชื้อ HPV ซึ่งในปี 2023 ประเทศไทยมีผู้หญิงที่เสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกถึงปีละ 4,700 ราย หรือเฉลี่ยวันละ 13 คน จึงถือว่าเป็นภัยเงียบที่อันตรายสำหรับทั้งเพศชายและหญิงเลยก็ว่าได้
HPV คืออะไร? ภัยเงียบแสนอันตรายที่คุกคามได้แบบไม่รู้ตัว
HPV (Human Papillomavirus) คือ กลุ่มไวรัสที่พบได้บ่อยตามเยื่อบุผิวอวัยวะเพศ ในปัจจุบันค้นพบไวรัส HPV แล้วกว่า 100 สายพันธุ์ ส่วนมากไม่ก่อให้เกิดปัญหาทางสุขภาพ แต่มีเพียงไม่กี่สายพันธุ์เท่านั้นที่เป็นต้นเหตุของโรคต่าง ๆ โดยเฉพาะสายพันธุ์ 16 และ 18 ที่เป็นสายพันธุ์เสี่ยงในการก่อมะเร็ง
การติดเชื้อ HPV มักเกิดจากการสัมผัสกับเชื้อโดยตรง หรือการมีเพศสัมพันธ์ ผู้ป่วยสามารถติดเชื้อ HPV บริเวณอวัยวะเพศ, ทวารหนัก, ช่องปาก และลำคอทั้งเพศชายและหญิง ผู้ที่ติดเชื้อ HPV มักจะไม่แสดงอาการผิดปกติออกมา และอาจจะใช้เวลา 10-20 ปี หรือนานกว่านั้นในการพัฒนาจนกลายเป็นเซลล์มะเร็ง
เพราะระยะเวลาการดำเนินโรคกินเวลาไปกว่าค่อนชีวิต ที่สำคัญผู้ป่วยมักไม่รู้ตัวหลังติดเชื้อ HPV จึงทำให้มีผู้ป่วยติดเชื้อ HPV ไม่ได้รับการรักษาแต่เนิ่น ๆ จนกลายเป็นมะเร็งในที่สุด และที่น่ากลัวกว่านั้น ผู้ติดเชื้อมักไม่รู้ว่าตนเองติดเชื้อ จึงทำให้แพร่เชื้อไปยังคนอื่นได้โดยไม่รู้ตัว ดังนั้น เชื้อ HPV จึงเป็นภัยเงียบที่เป็นสาเหตุหลักของโรคร้ายที่คร่าชีวิตคนไทยเป็นอันดับต้น ๆ ของประเทศ
ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้ติดเชื้อไวรัส HPV คืออะไร?
เชื้อ HPV คือเชื้อที่ติดต่อผ่านเพศสัมพันธ์เป็นหลัก แต่ไม่ได้หมายความว่าการมีคู่นอนเพียงคนเดียวจะทำให้ไม่ติดเชื้อ HPV เพราะหากคู่นอนของเราได้รับเชื้อ HPV เราก็สามารถติดเชื้อ HPV ได้เช่นกัน ซึ่งปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ ที่ทำให้ติดเชื้อมีดังนี้มีคู่นอนหลายคน
เชื้อ HPV สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ สายพันธุ์ที่มีความเสี่ยงต่ำและสายพันธุ์ที่มีความเสี่ยงสูง แต่กลุ่มเสี่ยงสูงที่สามารถก่อให้เกิดโรคในปัจจุบันมีอยู่เพียงแค่ประมาณ 20 สายพันธุ์เท่านั้น โดยเฉพาะเชื้อ HPV สายพันธุ์ 16 และ 18 ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่พบการติดเชื้อมากที่สุด ซึ่งแต่ละสายพันธุ์สามารถก่อให้เกิดโรคต่าง ๆ ดังนี้
HPV สายพันธุ์ 16
HPV สายพันธุ์ 16 หรือ HPV Type 16 คือ เชื้อ HPV ชนิดที่มีความเสี่ยงสูงที่พบบ่อยได้ที่สุด ผู้ที่ติดเชื้อมักไม่แสดงอาการที่เห็นได้ชัดเจน และส่งผลให้เซลล์ที่ปากมดลูกเปลี่ยนแปลง จนเป็นสาเหตุของมะเร็งปากมดลูกถึง 50% ทั่วโลก นอกจากนี้ HPV สายพันธุ์ 16 ยังเป็นสาเหตุของมะเร็งทวารหนัก และมะเร็งลำคออีกด้วย
HPV สายพันธุ์ 18
HPV สายพันธุ์ 18 หรือ HPV Type 18 คือ ชนิดของ HPV ที่มีความเสี่ยงสูงเช่นเดียวกับ HPV สายพันธุ์ 16 โดยทั่วไปมักจะไม่แสดงอาการเช่นเดียวกัน และมักเป็นสาเหตุของมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งต่อมลูกหมากอาการของ HPV มีอะไรบ้าง?
HVP คือเชื้อไวรัสที่เป็นหนึ่งในสาเหตุของโรคอันตรายมากมาย ซึ่งระยะในการดำเนินโรคมักใช้เวลานานมากกว่า 10-20 ปี โดยช่วงระยะดังกล่าว ผู้ป่วยจะไม่แสดงอาการที่บ่งชี้ชัดเจน แต่อาจพบอาการทั่วไปที่สังเกตได้ยาก ยกตัวอย่างเช่น
หูดหงอนไก่ : หูดหงอนไก่ คือ ตุ่มเล็ก ๆ มีลักษณะขรุขระ อาจมีอาการคันแต่ไม่รู้สึกเจ็บ ผู้ป่วยจะมีตุ่มขึ้นที่อวัยวะเพศหญิง บริเวณปากช่องคลอด หรือปากมดลูก เชื้อHPV ในผู้ชายก็สามารถทำให้เกิดหูดบริเวณอวัยวะเพศชายหรือทวารหนักได้เช่นกัน
ตกขาวผิดปกติ : ผู้ป่วยอาจพบตกขาวมีกลิ่นเหม็น มีเลือดปนตกขาว หรือมีเลือดออกกะปริบกะปรอยจากช่องคลอด อาการจะเป็น ๆ หายๆ เมื่อร่างกายอ่อนแอก็อาจเกิดความผิดปกติในภายหลังได้ แต่ผู้ป่วยหญิงที่ได้รับเชื้อ HPV หลายรายก็มักจะไม่แสดงอาการ
ต่อมน้ำเหลืองผิดปกติ : ผู้ป่วยอาจพบต่อมน้ำเหลืองบริเวณขาหนีบโต อาจมีเลือดหรือน้ำเหลืองไหลออกมาจากทวารหนัก รวมถึงมีอาการคัน โดยอาการดังกล่าวมักจะเป็นอาการของโรคมะเร็งทวารหนักซึ่งเป็นลักษณะการติดเชื้อ HPV ในผู้ชาย
องคชาตผิดปกติ : ผู้ป่วยชายอาจพบหนังองคชาตซีดและหนาตัวขึ้น มีก้อนหรือแผลบริเวณหนังองคชาตแต่ไม่รู้ตัว ซึ่งอาการดังกล่าวเป็นอาการของมะเร็งองคชาตหรืออาการหลังติดเชื้อ HPV ในผู้ชาย
วิธีการรักษาหากติดเชื้อ HPV ทำอย่างไรเมื่อได้รับเชื้อ
หากได้รับการ HPV Screening หรือการตรวจคัดกรองเชื้อไวรัส HPV แล้วพบว่ามีการติดเชื้อ ในปัจจุบันแพทย์จะทำเพียงการคอยเฝ้าระวังเท่านั้น แต่ถ้าหากผู้ป่วยได้รับเชื้อที่เป็นสายพันธุ์ความเสี่ยงสูงอย่างสายพันธุ์ 16 และ สายพันธุ์ 18 ก็อาจจะส่งผลให้เกิดโรคหูด หรือโรคมะเร็งได้ ซึ่งแพทย์ก็จะมีวิธีการรักษาที่แตกต่างกันไปตามอาการดังนี้
หากวินิจฉัยว่าเป็นโรคหูดหงอนไก่ แพทย์จะพิจารณาวิธีการรักษาที่เหมาะสม โดยปัจจุบันมีวิธีการรักษาหูดหงอนไก่หลายวิธี ทั้งการรักษาด้วยยาทา, การจี้ด้วยไฟฟ้า, การผ่าตัดชิ้นเนื้อ หรือการเลเซอร์ ถึงแม้ว่าจะกำจัดหูดออกไปได้ แต่ก็จะไม่สามารถกำจัดไวรัสที่แฝงอยู่ในร่างกายได้
หากวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็ง แพทย์ก็จะต้องพิจารณาแนวทางในการรักษาให้ผู้ป่วย ไม่ว่าจะเป็นการใช้เคมีบำบัด การฉายแสง หรือการผ่าตัด ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับระยะของโรคว่าอยู่ในระยะใด
ถ้าคุณกำลังป่วยเป็นมะเร็ง
กำลัง หมดหวัง ท้อแท้
เปิดใจ ชมคลิปนี้ เพื่อเป็นทางเลือกในการรักษามะเร็ง
ทางเลือกใหม่.....ของการรักษามะเร็ง
ช่วยยับยั้งเซลล์มะเร็ง....... ไม่ให้ลุกลาม
เป็นการรักษามะเร็ง ด้วยวิธี ปลอดภัย
ไขข้อข้องใจ
สารสกัดเซซามิน......จากงาดำ เข้าไปทำอะไรกับ เซลล์มะเร็ง
หมอที่เก่งที่สุดในโลก คือ ร่างกายมนุษย์
หมอที่เก่งที่สุดในร่างกายมนุษย์ คือ "ภูมิคุ้มกัน"
สรุป สารสกัดเซซามิน (Sesamin)
เข้าไปทำอะไรกับ เซลล์มะเร็ง
เป็นมะเร็งอาจดูน่ากลัว
เมื่อเป็นแล้ว อาจเสียชีวิตได้
วันนี้!!! ป้องกันได้ ด้วยสารอาหารจากธรรมชาติ แต่วันนี้วิทยาการทางการแพทย์มีการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง มีการใช้สารสกัดจากอาหารนำมาทานเพื่อดูแลฟื้นฟูเซลล์ภายในร่างกาย แต่ให้ประสิทธิผลดีกว่ายา
ศ.ดร.ปรัชญา คงทวีเลิศ ผู้อำนวยการ ศูนย์วิศวกรรมเนื้อเยื่อและเซลล์ต้นกำเนิด คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ค้นคว้ามากว่า 20 ปี จนกระทั่งคิดค้นสารสกัดเซซามิน ที่สามารถฟื้นฟูเซลล์ภายในร่างกายได้ เป็นครั้งแรกของโลก
นักวิจัยไทย ค้นพบ
สารเซซามินในงาดำ ครั้งแรกของโลก
ข่าวการค้นพบสารเซซามินจากงาดำ เป็นผลงานวิจัยของ ม.เชียงใหม่ การค้นพบในครั้งนี้ถือได้ว่าเป็นประโยชน์อย่างมาก ถือว่าเป็นการพัฒนาไปอีกก้าวของวงการแพทย์ไทย และที่สำคัญ นี่เป็นครั้งแรกของโลก ที่พบว่าสารเซซามิน (Sesamin) ที่พบนั้นจะไปยั้บยั้งการฟื้นฟูเซลล์จากการถูกทำลาย หรือพูดง่ายๆ ว่า มีโอกาสที่จะใช้ในการยับยั้งมะเร็งได้ด้วย
สารสกัด...เซซามิน เข้าไปทำอะไรกับ เซลล์มะเร็ง
คลิ๊ก.....ชมคลิปนี้ !!!
สุดยอดงานวิจัยไทย...
ค้นพบ 4 คุณสมบัติสำคัญ
เซซามิน สารสกัดจากงาดำ
ศ.ดร.ปรัชญา คงทวีเลิศ นักวิจัย ม.เชียงใหม่
ค้นพบ "สารสกัดเซซามิน (Sesamin)"
จากงาดำ....ทำลายเซลล์มะเร็ง
คณะนักวิจัยที่ค้นพบสรรพคุณ ของสารสกัดเซซามิน (Sesamin) ในเมล็ดงาเมล็ดเล็กๆ นี้นำทีมโดย ศ.ดร.ปรัชญา คงทวีเลิศ ผู้ทุ่มเทเวลาทั้งชีวิตของท่านอยู่ในห้องทดลอง เพื่อค้นคว้าหาหนทางใหม่ๆ มาช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
สารเซซามิน (Sesamin) ช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระ
สารเซซามิน (Sesamin) ช่วยยั้บยั้งการอักเสบ
สารเซซามิน (Sesamin) ช่วยลดทั้งการสังเคราะห์และลดการดูดซึมสารโคเรสเตอรอล
สารเซซามิน (Sesamin) ทำให้มะเร็งบางชนิดเข้าสู่ขบวนการทางชีวเคมีที่ทำให้เซลล์ตาย
สารเซซามิน (Sesamin) ช่วยยั้บยั้งการลุกลามของมะเร็งบางชนิดได้
สารเซซามิน (Sesamin) กระตุ้นให้ร่างกายสร้างสาร IL2 และ IFN-Gramma จากเม็ดเลือดขาว
สารเซซามิน (Sesamin) ช่วยดูแลเกี่ยวกับระดับน้ำตาลในเลือด
สารเซซามิน (Sesamin) ทำหน้าที่ช่วยเผาผลาญกรดไขมัน
สารเซซามิน (Sesamin) ช่วยทำให้ วิตตามิน E ทำงานได้มีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น
สารเซซามิน (Sesamin) ช่วยขจัดสารพิษออกจากร่างกาย
สารเซซามิน (Sesamin) ช่วยลดอาการปวด และอักเสบบริเวณต่างๆ ของร่างกาย
สารเซซามิน (Sesamin) ลดการเสื่อมสลายของข้อกระดูก และกระดูกอ่อน
สารเซซามิน (Sesamin) กระตุ้นการทำงานของเซลล์สร้างกระดูก
สารเซซามิน (Sesamin) ยับยั้งการดูดซึมและสังเคราะห์โคเลสเตอรอลภายในร่างกาย
สารเซซามิน (Sesamin) มีส่วนช่วยในการลดความดันโลหิต
สารเซซามิน (Sesamin) ช่วยในการกำจัดสารพิษของตับ
สารเซซามิน (Sesamin) กระตุ้นภูมิคุ้มกัน
สารเซซามิน (Sesamin) มีคุณสมบัติในการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ และยังช่วยเสริมฤทธิ์ของวิตามินอีให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
นอกจากนี้ยังมีงานวิจัย ที่ได้ทำการศึกษาที่หน่วยวิจัยมที่มีความเป็นเลิศทางด้านวิศวกรรมเนื้อเยื่อและเซลล์ต้นกำเนิด
(Thailand Excellence Center for Tissue Engineering and Stem Cells) พบว่า
1. สารสกัดเซซามิน สามารถยับยั้งการทำงานของสารสื่ออักเสบ ชนิด IL-1 Beta ได้ โดยการศึกษา ได้ทำการวิจัยในเซลล์กระดูกอ่อนที่ถูกกระตุ้นด้วย IL-1 Beta และเซซามิน (Sesamin) จากนั้นทำการศึกษาระดับโมเลกุล และพบว่า สารเซซามิน (Sesamin) สามารถยับยั้งการออกฤทธิ์ของ IL-1 Beta ได้ เป็นผลทำให้มีการลดลงของเอนไซม์ MMP13 ที่ไปย่อยสลายคอลลาเจน และสารชีวโมเลกุลอื่นในกระดูกอ่อน ได้อย่างชัดเจน
2. สารสกัดเซซามิน สามารถลดปริมาณการสร้าง หรือสังเคราะห์ของสารสื่ออักเสบชนิด Interleukin-1 Beta และ Tumor Necrosis Factor-Alpha ได้ ซึ่งเป็นผลจากการศึกษาวิจัย โดยการกระตุ้นเซลล์เม็ดเลือดขาวด้วยเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ H1N1 ซึ่งเป็นผลทำให้การหลั่งสารสื่ออักเสบเป็นจำนวนมาก แต่เมื่อได้รับสารสกัดเซซามิน (Sesamin) ร่วมด้วย จะทำให้มีการสร้าง และปล่อยสารสื่ออักเสบ IL-1 Beta ออกมาลดลงอย่างเห็นได้ชัดเจน แสดงดังรูป
จากรูปแสดงให้เห็นว่า สารสกัดงาดำ เซซามิน สามารถยับยั้งการสร้างและปล่อยสารสื่ออักเสบออกมาจากเม็ดเลือดขาว
3. เมื่อทำการศึกษาวิจัยในอาสาสมัคร โดยให้กินแคปซูลงาดำ รำข้าวสีนิล และแป้งข้าวหอมมะลิที่ผ่านขบวนการนึ่งพิเศษ ขนาดบรรจุ 500 mg. จำนวน 2 แคปซูล ตอนเช้า และเย็น เป็นระยะเวลา 15 วัน เพื่อทำการตรวจสอบการแสดงออกของยีนส์ ที่สร้างสารชีวโมเลกุลชนิด Interleukin-2(IL-2) ซึ่งเป็นสารชีวโมเลกุลที่ผลิตขึ้นมาจากเม็ดเลือดขาว และมีคุณสมบัติที่สามารถไปกระตุ้นให้ร่างกายมีภูมิต้านทานมากขึ้น ซึ่งพบว่า มีการเพิ่มขึ้นของ Cytokines ทั้งสองชนิดในเลือดของอาสาสมัครทุกคน แสดงดังรูป
สารสกัดเซซามิน (Sesamin) คือ สารสกัดงาดำและธัญพืชสูตรที่ดีที่สุด
เป็นผลงานวิจัยของนักวิจัยดีเด่น ศ.ดร.ปรัชญา คงทวีเลิศ ซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการหน่วยวิจัยที่มีความเป็นเลิศ ทางด้านวิศวกรรมเนื้อเยื่อและเซลล์ต้นกำเนิด คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เป็นนวัตกรรมวิทยาศาสตร์ ระดับโมเลกุลของไทย ซึ่งมีชื่อเสียงไปทั่วโลก และได้ยอมรับในเชิงวิชาการ โดยการได้จดสิทธิบัตรระดับโลก สามารถจัดจำหน่ายได้กว่า 78 ประเทศทั่วโลก
ปัจจุบันได้จดสิทธิบัตรเฉพาะประเทศ คือ ประเทศไทย มาเลเซีย และกัมพูชา เป็นที่เรียบร้อย
สารสกัดเซซามิน SESAMIN เหมาะกับใครบ้าง?
มะเร็ง....ทุกระยะมีพิษร้ายแรง
อย่ารอให้ถึงระยะสุดท้ายแล้วค่อยรักษา
ตัดสินใจช้าอาจจะเป็นการตัดสินใจครั้งสุดท้ายของคุณ
>>>แต่มีโอกาสรอดถ้าคุณรีบตัดสินใจ